โรคและแมลงของถั่วฝักยาว

ถั่วฝักยาวถือเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และ เป็นพืชที่ถูกนิยมนำไปประกอบอาหารทั้งในระดับครัวเรือนจนถึงระดับภัตรคาร เนืองจากถั่วฝักยาวมีคุณค่าทางอาหารสูงและยังมีสรรพคุณทางยาอีกด้วย โดย โรคและแมลงของถั่วฝักยาว นั้นมักไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็นชัดเจน แต่เราสามารถป้องกันได้ในเบื้องต้น โดยการเลือกเมล็ดพันธุ์ที่แข็งแรง ต้านโรคและมาจากผู้จำหน่ายที่น่าเชื่อถือ เช่น ถั่วฝักยาว ราชินี ตราดอกแดง, ถั่วฝักยาว ยอดเพชรเกษม ตราตะวันต้นกล้า, ถั่วฝักยาว จอมพล ตราตะวันกล้า, ถั่วฝักยาว สุดสาคร ตราเจียไต๋, ถั่วฝักยาว นาคา ตราแวนด้า ซีดส์, ถั่วฝักยาว ลำน้ำชี ตราศรแดง, ถั่วฝักยาว เขียวดกโกลด์ ตราศรแดง, ถั่วฝักยาว สายทิพย์ ตราภูเขาทอง, ถั่วฝักยาว มังกรหยก เบอร์ 9 ตราตะวันต้นกล้า, ถั่วฝักยาว แอร์กรีน 99 ตราหยดฝน, ถั่วฝักยาว แม่น้ำปิง ตราแม่น้ำ, เมล็ด ถั่วฝักยาว ดกพิจิตร,ถั่วฝักยาว รังสิต ตราดอกแตง หรือ ถั่วฝักยาว สามแฝด ตรางอบทอง เป็นต้น ก็จะสามารถแก้ไข โรคและแมลงของถั่วฝักยาว เเบื้องต้นได้

โรคของถั่วฝักยาว

โรคใบจุด

สาเหตุ เชื้อรา Cercospora sp.

การแพร่ระบาด แพร่ระบาดไปกับลมและฝน

ลักษณะอาการ มีแผลเป็นจุดสีน้ำตาล บริเวณกลางแผลมีสีเทา ในอาการที่รุนแรงใบถั่วฝักยาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล

การป้องกันกำจัด

โรคราสนิม

สาเหตุ เชื้อรา Uromyces fabae Pers

ลักษณะอาการ ใต้ใบถั่วฝักยาวจะมีจุดขนาดเล็กสีน้ำตาลแดงคล้ายสนิม จะเกิดกับใบล่างๆของลำต้นก่อน เมื่เกิดอาการรุนแรงจะทำให้ใบร่วงหล่น

การป้องกันกำจัด

โรคราแป้ง

สาเหตุ เชื้อรา Oidium sp. 

ลักษณะอาการ จะมีลักษณะคล้ายผงแป้งเกาะอยู่บนใบถั่วฝักยาว ทำให้ใบเหลืองและร่วง สุดท้ายทำให้ต้นเหี่ยวตาย 

การป้องกันกำจัด

โรคใบด่างเหลืองถั่วฝักยาว

สาเหตุ เชื้อไวรัสในกลุ่ม CABMV

การแพร่ระบาด แพ่ระบาดไปกับเมล็ดพันธุ์และเพลี้ยอ่อน

ลักษณะอาการ ลักษณะใบของถั่วฝักยาวจะม้วนงอ ในใบอ่อนจะมีสีเขียวเข้มสลับสีเขียวอ่อน ส่วนในใบแก่จะมีสีเหลือง และผลผลิตจะลงลด

การป้องกันกำจัด

โรคใบจุดเหลืองถั่วลิสง

สาเหตุ เชื้อไวรัสในกลุ่ม PYSV

การแพร่ระบาด มีเพลี้ยไฟเป็นพาหะ

ลักษณะอาการ โดยปกติเชื้อจะเข้าทำลายแค่ใบถั่วฝักยาวที่ติดเชื้อเท่านั้น โดยมีจุดสีเหลืองซีดบริเวณเส้นใบ ถ้าอาการรุนแรงจะเป็นด่างจ้ำสีเหลืองสลับสีเขียว

การป้องกันกำจัด

โรครากเน่าโคนเน่า

สาเหตุ เชื้อรา Sclerotium rolfsii Sacc.

การแพร่ระบาด แพร่กระจายได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้ง ความชื้นต่ำ

ลักษณะอาการ เนื้อเยื่อของผลผลิตจะตาย เชื้อราเข้าปกคลุมผลผลิต

ารป้องกันกำจัด

  • ปลูกพืชหมุนเวียน
  • ใช้สารเคมีในกลุ่ม chlorophenyl/nitroaniline เช่น ไรโซเล็กซ์ เป็นต้น
  • ใช้สารเคมี carboxin ผสมกับ ไทแรม(ไธอะโนซาน) 

โรคแอนแทรคโนส

สาเหตุ เชื้อรา Colletotrichum lindemuthianum

ลักษณะอาการ เส้นใบถั่วฝักยาวจะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำโดยเริ่มจากขั่วใบด้านหลัง  บนฝักจะพบแผลจุดเล็กๆ สำน้ำตาลแดง จนถึงสีดำ

การแพร่ระบาด สามารถแพร่ระบาดโดยการติดไปกับเครื่องมือทางการเกษตร ทางลม และทางน้ำ

การป้องกันกำจัด

  • ทำลายซากพืชที่ติดเชื้อ
  • เว้นระยะในการปลูก ให้อากาศถ่ายเทได้ดี ไม่มีน้ำขัง
  • ใช้สารแคมีประเภทยาป้องกันและกำจัดเชื้อรา เช่น ไดโฟลาแทน, โลนาโคล, เบนเลท,  อะซอกซีสโตบิน(อมิสตา) หรือ เมทาแลกซิล เป็นต้น 

แมลงศัตรูพืชของถั่วฝักยาว

หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว

 

ลักษณะการทำลาย เริ่มทำลายตั้งแต่ต้นถั่วฝักยาวเริ่มงอก โดยเมื่อทำลายจะเกิดเป็นจุดสีเหลือง เกิดรอยแตก ใบร่วง และตายไปในที่สุด

การป้องกันกำจัด

 หนอนเจาะฝักถั่ว

ลักษณะการทำลาย ตัวหนอนจะกัดกินภายในดอกถั่วฝักยาว ทำให้ดอกร่วงไม่ติดฝัก ผลผลิตได้น้อย

การป้องกันกำจัด

เพลี้ยอ่อน

 

ลักษณะการทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงของยอดและฝักถั่วฝักยาว ทำให้ลำต้นแคระ ฝักมีขนาดเล็กลง

การป้องกันกำจัด

แอดไลน์มาสิ ! คุณจะไม่พลาดข่าวสารสำคัญๆ หรือ สอบถาม แบบสั้นๆเข้าใจง่ายไว้ในบทความนี้ โรคและแมลงของ ถั่วฝักยาว เพิ่มเติม

เกษตรสมบูรณ์ บริการให้คำปรึกษาด้านการเกษตร และ จำหน่าย ปุ๋ย ยา และ เมล็ดพันธุ์ผัก เช่น ศรแดง เจียไต๋ และตะวันต้นกล้า ราคาปลีกและส่ง พร้อมจัดส่งทั่วประเทศ 

ID Line : @uox0813g

Facebook : www.facebook.com/kasetsomboonstore

Facebook : fb.me/kasetsomboonstore

Facebook Comments

One thought on “โรคและแมลงของถั่วฝักยาว ที่คนปลูกถั่วต้องรู้ !

  1. Pingback: วิธีปลูกถั่วฝักยาว ฉบับจับมือทำ | rubberplasmedia

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *