โรคและแมลงศัตรูพืชในฤดูหนาว ของมะระ ถั่วฝักยาว บวบ และแตงกวา
ดดดดดดดดดดดโรคและแมลงศัตรูพืชในฤดูหนาว ของพืชตระกูลเถา : ในระยะนี้เริ่มเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว พืชที่ปลูกจะต้องเจอผลกระทบสภาพอากาศที่แปรปรวน แสงแดดร้อนจัด หนาวจัด เมื่อพืชที่เราปลูกกระทบหนาว กระทบร้อน ทำให้พืชดูดธาตุอาหารได้น้อยลง ส่งผลให้กระบวนการต่าง ๆ ของพืชก็ชะงัก การสังเคราะห์แสงน้อยลง การสร้างคลอโรฟิวส์น้อย ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต อ่อนแอและเกิดโรคได้ง่าย วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาเบื้องต้นคือการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพการให้อาหารเสริมชนิดต่างๆแก่พืชเป็นต้น ซึ่งทางเราได้เรียบเรียง โรคและแมลงศัตรูพืชในฤดูหนาว ของพืชตระกูลเถา เช่น แตงกวา แตงร้าน บวป มะระ ถั่วฝักยาว เป็นต้น แบบสั้นๆเข้าใจง่ายไว้ในบทความนี้ เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับคนที่สนใจปลูก
ดดดดดดดดดดดการเลือกเมล็ดผักที่ได้คุณภาพ เป็นพันธุ์ต้านทานโรค ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในพืชได้ ตัวอย่างเช่น แตงกวา เขียวมาลัย ตราเจียไต๋, แตงกวา เขียวมาลัย เบอร์ 2 ตราเจียไต๋, แตงกวา เอเธนส์6, แตงกวา พาวเวอร์กรีน ตราตะวันต้นกล้า, แตงร้าน จับโบ้กรีน ตราศรแดง, แตงร้าน เขียวอมตะ เบอร์ 2 ตราเจียไต๋, แตงร้าน บิ๊กกรีน ตราศรแดง, บวบเหลี่ยม วิกเกอร์เอ ตราศรแดง, บวบเหลี่ยม ฟาโรห์ ตราศรแดง, มะระขี้นก ไซเบอร์ ตราศรแดง, มะระจีน ธิเบต ตราแวนด้าซีดส์, มะระจีน เขียวหยก เบอร์ 16 ตราศรแดง, ถั่วฝักยาว สุดสาคร ตราเจียไต๋, ถั่วฝักยาว ลำน้ำชี และ ถั่วฝักยาว นาคา ตราแวนด้า ซีดส์ เป็นต้น
ดดดดดดดดดดดสาหร่าย(ทรีโอ้) ช่วยส่งเสริมการสังคราะห์แสง กระตุ้นการทำงานในระบบต่างๆ ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี ส่งเสริมการเจริญเติบโตให้พืช ส่งเสริมการสังเคราะห์แสง แตกแขนง สร้างตายอด และตาดอก รวมถึงปลายราก
ดดดดดดดดดดด อโทนิค(atonik) เป็นสารที่ช่วยให้ของเหลวภายในไซโตพลาสซึม(cytoplasm) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเซลล์พืช “หมุนเวียนและเคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็ว” หน้าที่สำคัญคือกระตุ้นการเจริญเติบโตของรากพืชและการเติบโตของระบบสืบพันธุ์ ส่งเสริมการออกดอกให้ดกขึ้น ขั้วเหนียว และลดการหลุดร่วงของผลผลิต
ดดดดดดดดดดดสังกะสี หรือ ซิงค์(ฟลังโก้ ซิงค์) เป็นธาตุอาหารพืชที่อยู่ในก
พืชตระกูลแตง
โรคราน้ำค้าง
สาเหตุ เชื้อรา Peronospora parasitica
ลักษณะอาการ ปรากฏเป็นจัดสีขาวซีดบนใบ ต่อมาแผลขนาดใหญ่ขึ้นแผลซีดสีฟางข้าว ยุบตัวลง
การป้องกันกำจัด
- แช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน้ำอุ่น 45 – 50 องศาเซลเซียส นาน 25 นาที
- ปลูกพืชหมุนเวียน
- เว้นระยะห่างในการปลูกพืช อย่าให้แน่นจนเกินไป
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น คอปเปอร์ ไฮดรอกไซด์ (ฟังกูราน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Cyanoacetamide oxime + Alkylenebis (dithiocarbamate) เช่น ไซม็อกซานิล+แมนโคเซบ (เคอร์เซท) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม cinnamic acid เช่น ไดเมโทมอร์ฟ (ฟอรัม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Alkylenebis เช่น แมนโคเซป (ฮัมบรูก) (โปรมาเซบ 80) หรือ โพรพิเนบ (แอนทาโคล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Dimethyldithiocarbamate เช่น ไทแรม (ไธอะโนซาน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Thiazolecarboxamide เช่น อีทาบอกแซม (โบคุ่ม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Chloronitrile เช่น คลอโรทาโลนิล (ไทสกาย) (ลีนิล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Phenylamide เช่น เมทาแลกซิล (เมทาแลกซิล) (ลอนซาน 35) เป็นต้น
โรคราแป้ง
สาเหตุ เชื้อรา Oidium sp.
ลักษณะอาการ จะมีลักษณะคล้ายผงแป้งเกาะอยู่บนใบ ทำให้ใบเหลืองและร่วง สุดท้ายทำให้ต้นเหี่ยวตาย
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม triazole เช่น เตตระโคนาโซล(ดูมาร์ค) หรือ ไดฟีโนโคนาโซล(สกอร์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Benzimidazole เช่น คาร์เบนดาซิม (อาเค่น) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น ซัลเฟอร์ (ไมโครไธออล) เป็นต้น
แมลงหวี่ขาว
ลักษณะการทำลาย เป็นพาหะนำโรคไวรัส ทำให้ใบพริกหงิกงอ ต้นแคระเกร็นไม่สมบูรณ์
แนวทางการป้องกันกำจัด
- นำแผ่นพลาสติกคลุมแปลงเพื่อไล่แมลง ลดการระบาดของพาหะ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์)เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ใช้ สารจับใบ (เอส 995) ฉีดพ่นเพื่อไล่พาหะ
เพลี้ยอ่อน
ลักษณะการทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงของยอดและฝัก ทำให้ลำต้นแคระ ฝักมีขนาดเล็กลง
การป้องกันกำจัด
- กำจัดวัชพืชบริเวณแปลงปลูก
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล (แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น สะเดา ผสมกับน้ำผงซักฟอกเจือจาง
พืชตระกูลบวบ
โรคราน้ำค้าง
สาเหตุ เชื้อรา Peronospora parasitica
ลักษณะอาการ ปรากฏเป็นจัดสีขาวซีดบนใบ ต่อมาแผลขนาดใหญ่ขึ้นแผลซีดสีฟางข้าว ยุบตัวลง
การป้องกันกำจัด
- แช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน้ำอุ่น 45 – 50 องศาเซลเซียส นาน 25 นาที
- ปลูกพืชหมุนเวียน
- เว้นระยะห่างในการปลูกพืช อย่าให้แน่นจนเกินไป
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น คอปเปอร์ ไฮดรอกไซด์ (ฟังกูราน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Cyanoacetamide oxime + Alkylenebis (dithiocarbamate) เช่น ไซม็อกซานิล+แมนโคเซบ (เคอร์เซท) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม cinnamic acid เช่น ไดเมโทมอร์ฟ (ฟอรัม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Alkylenebis เช่น แมนโคเซป (ฮัมบรูก) (โปรมาเซบ 80) หรือ โพรพิเนบ (แอนทาโคล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Dimethyldithiocarbamate เช่น ไทแรม (ไธอะโนซาน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Thiazolecarboxamide เช่น อีทาบอกแซม (โบคุ่ม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Chloronitrile เช่น คลอโรทาโลนิล (ไทสกาย) (ลีนิล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Phenylamide เช่น เมทาแลกซิล (เมทาแลกซิล) (ลอนซาน 35) เป็นต้น
โรคราแป้ง
สาเหตุ เชื้อรา Oidium sp.
ลักษณะอาการ จะมีลักษณะคล้ายผงแป้งเกาะอยู่บนใบ ทำให้ใบเหลืองและร่วง สุดท้ายทำให้ต้นเหี่ยวตาย
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม triazole เช่น เตตระโคนาโซล(ดูมาร์ค) หรือ ไดฟีโนโคนาโซล(สกอร์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Benzimidazole เช่น คาร์เบนดาซิม (อาเค่น) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น ซัลเฟอร์ (ไมโครไธออล) เป็นต้น
แมลงหวี่ขาว
ลักษณะการทำลาย เป็นพาหะนำโรคไวรัส ทำให้ใบพริกหงิกงอ ต้นแคระเกร็นไม่สมบูรณ์
แนวทางการป้องกันกำจัด
- นำแผ่นพลาสติกคลุมแปลงเพื่อไล่แมลง ลดการระบาดของพาหะ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์)เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ใช้ สารจับใบ (เอส 995) ฉีดพ่นเพื่อไล่พาหะ
หนอนชอนใบ
ลักษณะการทำลาย ใบและลำต้นจะแคระแกร็น จะมองเห็นทางที่หนอนเคลื่อนตัวผ่านได้อย่างชัดเจน โดยจะเห็นเป็นทางสีขาว
การป้องกันกำจัด
- หมั่นตรวจดูที่บริเวณพืช คอยกำจัดหนอนชอนใบ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) , อะเซทามิพริด(โปรวิลเลอร์) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) (เก-เพค 70) (ฟาเดีย) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล(แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Avermectin เช่น อะบาเมกติน (ต็อดติ) หรือ อิมาเม็กตินเบนโซเอต(เดอะฮัก) เป็นต้น เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Nereistoxin analogue เช่น คาร์แทป ไฮโดรคลอร์ไรด์ (พาแดน 50) เป็นต้น
- ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ คือ น้ำสารสะกัดจากสะเดา
พืชตระกูลมะระ
โรคราน้ำค้าง
สาเหตุ เชื้อรา Peronospora parasitica
ลักษณะอาการ ปรากฏเป็นจัดสีขาวซีดบนใบ ต่อมาแผลขนาดใหญ่ขึ้นแผลซีดสีฟางข้าว ยุบตัวลง
การป้องกันกำจัด
- แช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน้ำอุ่น 45 – 50 องศาเซลเซียส นาน 25 นาที
- ปลูกพืชหมุนเวียน
- เว้นระยะห่างในการปลูกพืช อย่าให้แน่นจนเกินไป
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น คอปเปอร์ ไฮดรอกไซด์ (ฟังกูราน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Cyanoacetamide oxime + Alkylenebis (dithiocarbamate) เช่น ไซม็อกซานิล+แมนโคเซบ (เคอร์เซท) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม cinnamic acid เช่น ไดเมโทมอร์ฟ (ฟอรัม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Alkylenebis เช่น แมนโคเซป (ฮัมบรูก) (โปรมาเซบ 80) หรือ โพรพิเนบ (แอนทาโคล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Dimethyldithiocarbamate เช่น ไทแรม (ไธอะโนซาน) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Thiazolecarboxamide เช่น อีทาบอกแซม (โบคุ่ม) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Chloronitrile เช่น คลอโรทาโลนิล (ไทสกาย) (ลีนิล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Phenylamide เช่น เมทาแลกซิล (เมทาแลกซิล) (ลอนซาน 35) เป็นต้น
โรคราแป้ง
สาเหตุ เชื้อรา Oidium sp.
ลักษณะอาการ จะมีลักษณะคล้ายผงแป้งเกาะอยู่บนใบ ทำให้ใบเหลืองและร่วง สุดท้ายทำให้ต้นเหี่ยวตาย
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม triazole เช่น เตตระโคนาโซล(ดูมาร์ค) หรือ ไดฟีโนโคนาโซล(สกอร์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Benzimidazole เช่น คาร์เบนดาซิม (อาเค่น) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น ซัลเฟอร์ (ไมโครไธออล) เป็นต้น
แมลงหวี่ขาว
ลักษณะการทำลาย เป็นพาหะนำโรคไวรัส ทำให้ใบพริกหงิกงอ ต้นแคระเกร็นไม่สมบูรณ์
แนวทางการป้องกันกำจัด
- นำแผ่นพลาสติกคลุมแปลงเพื่อไล่แมลง ลดการระบาดของพาหะ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์)เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ใช้ สารจับใบ (เอส 995) ฉีดพ่นเพื่อไล่พาหะ
หนอนชอนใบ
ลักษณะการทำลาย ใบและลำต้นจะแคระแกร็น จะมองเห็นทางที่หนอนเคลื่อนตัวผ่านได้อย่างชัดเจน โดยจะเห็นเป็นทางสีขาว
การป้องกันกำจัด
- หมั่นตรวจดูที่บริเวณพืช คอยกำจัดหนอนชอนใบ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) , อะเซทามิพริด(โปรวิลเลอร์) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) (เก-เพค 70) (ฟาเดีย) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล(แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Avermectin เช่น อะบาเมกติน (ต็อดติ) หรือ อิมาเม็กตินเบนโซเอต(เดอะฮัก) เป็นต้น เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Nereistoxin analogue เช่น คาร์แทป ไฮโดรคลอร์ไรด์ (พาแดน 50) เป็นต้น
- ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ คือ น้ำสารสะกัดจากสะเดา
เพลี้ยอ่อน
ลักษณะการทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงของยอดและฝัก ทำให้ลำต้นแคระ ฝักมีขนาดเล็กลง
การป้องกันกำจัด
- กำจัดวัชพืชบริเวณแปลงปลูก
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล (แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น สะเดา ผสมกับน้ำผงซักฟอกเจือจาง
พืชตระกูลถั่วฝักยาว
โรคราแป้ง
สาเหตุ เชื้อรา Oidium sp.
ลักษณะอาการ จะมีลักษณะคล้ายผงแป้งเกาะอยู่บนใบ ทำให้ใบเหลืองและร่วง สุดท้ายทำให้ต้นเหี่ยวตาย
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม triazole เช่น เตตระโคนาโซล(ดูมาร์ค) หรือ ไดฟีโนโคนาโซล(สกอร์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Benzimidazole เช่น คาร์เบนดาซิม (อาเค่น) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น ซัลเฟอร์ (ไมโครไธออล) เป็นต้น
โรคใบหงิกและใบหด
สาเหตุ มีแมลงพาหะ คือ แมลงดูดกิน เช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน และแมลงหวี่ขาว เป็นต้น
ลักษณะอาการ ใบจะไม่แผ่เรียบ ขอบใบจะม้วนขึ้นหรือลง
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล (แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม spinosyn เช่น สไปนีโทแรม(เอ็กซอล) เป็นต้น
- ใช้ สารจับใบ (เอส 995) ฉีดพ่นเพื่อไล่พาหะ
- ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น สะเดา ผสมกับน้ำผงซักฟอกเจือจาง
โรคราสนิม
สาเหตุ เชื้อรา Uromyces fabae Pers
ลักษณะอาการ ใต้ใบจะมีจุดขนาดเล็กสีน้ำตาลแดงคล้ายสนิม จะเกิดกับใบล่างๆของลำต้นก่อน เมื่เกิดอาการรุนแรงจะทำให้ใบร่วงหล่น
การป้องกันกำจัด
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม triazole เช่น เตตระโคนาโซล(ดูมาร์ค) หรือ ไดฟีโนโคนาโซล(สกอร์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Inorganic เช่น ซัลเฟอร์ (ไมโครไธออล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Chloronitrile เช่น คลอโรทาโลนิล (ไทสกาย) (ลีนิล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Alkylenebis เช่น แมนโคเซป (ฮัมบรูก) (โปรมาเซบ 80) โพรพิเนบ (แอนทาโคล) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Dimethyldithiocarbamate เช่น ไทแรม (ไธอะโนซาน) เป็นต้น
หนอนชอนใบ
ลักษณะการทำลาย ใบและลำต้นจะแคระแกร็น จะมองเห็นทางที่หนอนเคลื่อนตัวผ่านได้อย่างชัดเจน โดยจะเห็นเป็นทางสีขาว
การป้องกันกำจัด
- หมั่นตรวจดูที่บริเวณพืช คอยกำจัดหนอนชอนใบ
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) , อะเซทามิพริด(โปรวิลเลอร์) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) (เก-เพค 70) (ฟาเดีย) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล(แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Avermectin เช่น อะบาเมกติน (ต็อดติ) หรือ อิมาเม็กตินเบนโซเอต(เดอะฮัก) เป็นต้น เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Nereistoxin analogue เช่น คาร์แทป ไฮโดรคลอร์ไรด์ (พาแดน 50) เป็นต้น
- ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ คือ น้ำสารสะกัดจากสะเดา
เพลี้ยอ่อน
ลักษณะการทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงของยอดและฝัก ทำให้ลำต้นแคระ ฝักมีขนาดเล็กลง
การป้องกันกำจัด
- กำจัดวัชพืชบริเวณแปลงปลูก
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม carbamate เช่น คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Pyrethoid เช่น ไซเพอร์เมทริน (ฮุค) หรือ เดลทาเมทริน (เดซิส) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม phenylpyrazole เช่น ฟิโพรนิล (แอสเซนด์) เป็นต้น
- ใช้สารเคมีในกลุ่ม Neonicotinoid เช่น ไดโนทีฟูแรน(สตาร์เกิล จี), ไทอะมีทอกแซม(เซนน่า) หรือ อิมิดาโคลพริด(ไบรด้า) เป็นต้น
- ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น สะเดา ผสมกับน้ำผงซักฟอกเจือจาง
แอดไลน์มาสิ ! คุณจะไม่พลาดข่าวสารสำคัญๆ หรือ สอบถาม แบบสั้นๆเข้าใจง่ายไว้ในบทความนี้ โรคและแมลงศัตรูพืชในฤดูหนาว เพิ่มเติม
เกษตรสมบูรณ์ บริการให้คำปรึกษาด้านการเกษตร และ จำหน่าย ปุ๋ย ยา และ เมล็ดพันธุ์ผัก เช่น ศรแดง เจียไต๋ และตะวันต้นกล้า ราคาปลีกและส่ง พร้อมจัดส่งทั่วประเทศ